การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
๑. การที่โลกหมุนรอบตัวเองตลอดเวลา ทำ�ให้
ด้านหนึ่งของโลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์
เป็นเวลากลางวัน ส่วนอีกด้านหนึ่งไม่ได้รับ
แสงเป็นเวลากลางคืน ทำ�ให้การเกิดกลางวัน
กลางคืนสลับกันไปหมุนเวียนเป็นวัฏจักร
๒. ในเวลากลางวันโลกจะได้รับพลังงานแสง
และพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์
ซึ่งช่วยในการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ด้านความรู้
อธิบายการเกิดกลางวัน กลางคืน
การเกิดกลางวัน กลางคืน
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิดกลางวัน
กลางคืน โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์
ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำ�ไปสู่การอภิปรายร่วมกัน
๒. นักเรียนทำ�กิจกรรมโดยให้โลกหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์
โดยใช้แบบจำ�ลองและสังเกตพื้นที่ที่ได้รับแสงและไม่ได้รับแสงของโลก
โดยทำ�ซ้ำ�อย่างน้อย ๓ ครั้ง รวบรวมข้อมูลเพื่ออธิบายสาเหตุการเกิด
กลางวัน กลางคืน และนำ�เสนอ
๓. นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า กลางวัน กลางคืน เกิดจากโลก
หมุนรอบตัวเองทำ�ให้ด้านหนึ่งของโลกที่ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์เป็นเวลา
กลางวัน ส่วนอีกด้านหนึ่งที่ไม่ได้รับแสงเป็นเวลากลางคืน เมื่อโลกหมุนต่อ
ไปด้านที่เป็นเวลากลางคืนก็จะเปลี่ยนเป็นเวลากลางวัน ส่วนด้านที่เป็น
กลางวันก็จะเปลี่ยนเป็นกลางคืน หมุนเวียนเช่นนี้เป็นแบบรูป
๔. ครูใช้คำ�ถามกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับความสำ�คัญของ
ดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต โดยใช้รูป วีดิทัศน์ หรือภาพเคลื่อนไหว
เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นเกี่ยวกับความสำ�คัญของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต เช่น
อินเทอร์เน็ต หนังสือ
๕. นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากการสืบค้น จากนั้นจัดกระทำ�ข้อมูลเกี่ยวกับ
ความสำ�คัญของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิตและนำ�เสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ
จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า โลกได้รับพลังงานแสงและ
พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ซึ่งช่วยในการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
รายละเอียดการสังเกตพื้นที่ที่ได้รับและไม่ได้รับ
แสงจากแบบจำ�ลองการเกิดกลางวัน กลางคืน
ได้ครบถ้วน ตามความ เป็นจริ ง โดยไม่ เพิ่ม
ความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
อธิบายการเกิดกลางวัน กลางคืน โดยเชื่อมโยงกับ
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการหมุนรอบตัวเองของ
โลกจากแบบจำ�ลองได้อย่างสมเหตุสมผล
๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับความสำ�คัญของ
ดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิตมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ
ในรูปแบบที่น่าสนใจ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูล ได้อย่าง
เข้าใจและถูกต้อง
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตพื้นที่ที่ได้รับและ
ไม่ได้รับแสงจากแบบจำ�ลองการเกิดกลางวัน
กลางคืน
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย
การอธิบายการเกิดกลางวัน กลางคืน โดย
เชื่อมโยงกับข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
การหมุนรอบตัวเองของโลกจากแบบจำ�ลอง
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับความสำ�คัญ
ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิตมาจัดกระทำ�และ
นำ�เสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ
135
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓