Table of Contents Table of Contents
Previous Page  176 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 176 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ

กับสเปซ โดยการบอกปริมาตรและรูปร่าง

ของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว

และแก๊ส

๔. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูลโดยนำ�ข้อมูลที่ได้จากการวัดและ

การสังเกตมานำ�เสนอในรูปแบบตาราง

๕. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยใช้

ข้อมูลจากการสังเกตและการวัดมาเปรียบ

เทียบมวล ปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง

ของเหลวและแก๊ส

๖. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยเปรียบเทียบมวล ปริมาตร และรูปร่าง

ของของแข็ง ของเหลวและแก๊สโดยใช้ข้อมูล

จากการสังเกตและการวัดมวลและปริมาตร

ของสสาร

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยร่วมกันทำ�กิจกรรมเรื่องการ

เปรียบเทียบปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง

ของเหลว และแก๊ส และร่วมกันนำ�เสนอผล

การทำ�กิจกรรม

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอผลการ

ทำ�กิจกรรมและร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน

เรื่องการเปรียบเทียบปริมาตรและรูปร่างของ

ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส

๓. ประเมินทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ

กับสเปซจากการบอกปริมาตรและรูปร่างของ

ของแข็ง ของเหลวและแก๊สเมื่ออยู่ในภาชนะต่าง ๆ

ได้ถูกต้อง

๔. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูลจากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการวัดและการ

สังเกตมานำ�เสนอในรูปแบบตารางได้ถูกต้องชัดเจน

๕. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก

การเปรียบเทียบมวล ปริมาตรและรูปร่างของ

ของแข็ง ของเหลวและแก๊สโดยใช้ผลการสังเกตและ

การวัดมวลและปริมาตร

๖. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ

สรุปจากผลการเปรียบเทียบมวล ปริมาตรและ

รูปร่างของของแข็ง ของเหลวและแก๊สโดยใช้ข้อมูล

จากการสังเกตและการวัดมวลและปริมาตรของ

สสารได้ถูกต้องและครบถ้วน

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์

ในกา รทำ �กิจกร รม และกา รนำ � เ สนอ เ รื่อง

การเปรียบเทียบปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง

ของเหลว และแก๊ส

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสารจากการนำ�เสนอ

ผลกา รทำ �กิจกร รม ในรูปแบบต่า ง ๆ เ รื่อง

การเปรียบเทียบปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง

ของเหลว และแก๊สให้ผู้อื่นเข้าใจ

๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการเปรียบเทียบรูปร่างและปริมาตรของสสาร

สถานะต่าง ๆ และครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนอภิปรายโดยใช้หลักฐาน

เชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าของแข็งมีปริมาตรและ

รูปร่างคงที่ ของเหลวมีปริมาตรคงที่แต่รูปร่างไม่คงที่เปลี่ยนแปลงตามส่วน

ของภาชนะที่บรรจุ ส่วนแก๊สมีปริมาตรและรูปร่างไม่คงที่เปลี่ยนแปลงตาม

ภาชนะที่บรรจุ

๖. ครูให้นักเรียนสำ�รวจสสารในชีวิตประจำ�วันและให้วิเคราะห์สมบัติของ

สสารและระบุสถานะของสสารแต่ละชนิดและนำ�เสนอ

(หมายเหตุ สสารบางชนิดอาจไม่สามารถระบุสถานะได้ เช่น โคลน ยาสีฟัน

แป้งเปียก โยเกิร์ต)

๗. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์สมบัติของสสารและ

ปรับปรุงแก้ไขข้อสรุปให้ถูกต้อง

166