การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๕. นักเรียนร่วมกันสำ�รวจและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารต่าง ๆ
ในชีวิตประจำ�วันอื่น ๆ นอกเหนือจากกิจกรรม เช่น การจุดเทียนไข
การทำ�เค้ก การหุงข้าว การเปลี่ยนสถานะของน้ำ� การตกผลึกของสารส้ม
ว่าการเปลี่ยนแปลงใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้
บันทึกผลและนำ�เสนอ และครูนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์
ที่นำ�เสนอและปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงการใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลง
ของสารที่ผันกลับได้ เช่น การตกผลึก การนำ�เทียนเก่าไปหลอมเป็นเทียน
แท่งใหม่
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยร่วมกันทำ�กิจกรรมเรื่องการ
เปลี่ยนแปลงของสารที่ผันกลับได้และผัน
กลับไม่ได้และการร่วมกันนำ�เสนอผลการทำ�
กิจกรรม
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอผลการ
ทำ�กิจกรรมและร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน
เรื่องการเปลี่ยนแปลงของสารที่ผันกลับได้
และผันกลับไม่ได้
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิต
ประจำ�วันและระบุเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบ
ผันกลับได้หรือผันกลับไม่ได้
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ใน
การทำ�กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงของสารที่ผันกลับ
ได้และผันกลับไม่ได้ และการนำ�เสนอ
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ข้อมูลที่ได้จากการทำ�กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงของ
สารที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิตประจำ�วัน
และระบุเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับได้หรือ
ผันกลับไม่ได้ได้อย่างถูกต้อง
196