การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
เมฆเ กิดจากไอน้ำ � ในอากาศควบแน่นเป็น
ละอองน้ำ�เล็ก ๆ โดยมีละอองลอย เช่น เกลือ
ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง และ
ละอองน้ำ�จำ�นวนมากนั้นเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่
สูงจากพื้นดินมาก แต่หากละอองน้ำ�ที่เกาะกลุ่ม
รวมกันอยู่ใกล้พื้นดิน เรียกว่า หมอก ส่วนไอน้ำ�
ที่ควบแน่นเป็นละอองน้ำ�เกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุ
ใกล้พื้นดิน เรียกว่า น้ำ�ค้าง ถ้าอุณหภูมิใกล้พื้น
ดินต่ำ�กว่าจุดเยือกแข็ง น้ำ�ค้างก็จะกลายเป็น
น้ำ�ค้างแข็ง
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นในแบบจำ�ลอง
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย
ลงความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการเกิดเมฆ
หมอก น้ำ�ค้าง และน้ำ�ค้างแข็ง จากแบบจำ�ลอง
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิดเมฆ
หมอก น้ำ�ค้าง และน้ำ�ค้างแข็ง โดยอาจใช้สถานการณ์หรือใช้คำ�ถาม หรือ
สื่อต่าง ๆ เช่น ภาพเคลื่อนไหว รูปภาพ วีดิทัศน์ เพื่อนำ�ไปสู่การใช้
แบบจำ�ลอง
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันสังเกตและอธิบายกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำ�ค้าง
และน้ำ�ค้างแข็งจากแบบจำ�ลอง
๓. นักเรียนนำ�เสนอกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำ�ค้าง และน้ำ�ค้างแข็ง โดย
ใช้แบบจำ�ลอง นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการเกิดเมฆ หมอก
น้ำ�ค้าง และน้ำ�ค้างแข็งจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ เช่น อินเทอร์เน็ต
หนังสือหรือใบความรู้ บันทึกผล
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นจากแบบจำ�ลองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในธรรมชาติเกี่ยวกับ
กระบวนการเกิดและเปรียบเทียบกระบวนการเกิดของ เมฆ หมอก น้ำ�ค้าง
และน้ำ�ค้างแข็ง เพื่อลงข้อสรุปว่า เมฆ เกิดจากไอน้ำ�ในอากาศควบแน่นเป็น
ละอองน้ำ�เล็กๆ โดยมีละอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ เป็น
อนุภาคแกนกลาง และละอองน้ำ�จำ�นวนมากนั้น เกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูง
จากพื้นดินมาก แต่หากละอองน้ำ�ที่เกาะกลุ่มรวมกันอยู่ใกล้พื้นดิน เรียกว่า
หมอก ส่วนไอน้ำ�ที่ควบแน่นเป็นละอองน้ำ�เกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้
พื้นดิน เรียกว่า น้ำ�ค้าง ถ้าอุณหภูมิใกล้พื้นดินต่ำ�กว่าจุดเยือกแข็ง น้ำ�ค้าง
ก็จะกลายเป็นน้ำ�ค้างแข็ง
ด้านความรู้
๑. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำ�ค้าง
และน้ำ�ค้างแข็ง
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
รายละเอียดการสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ในแบบจำ�ลองได้ครบถ้วน ตามความเป็นจริงโดย
ไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
220
ตัวชี้วัด
๖. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำ�ค้าง และน้ำ�ค้างแข็ง จากแบบจำ�ลอง