Table of Contents Table of Contents
Previous Page  233 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 233 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๕. ฝน หิมะ ลูกเห็บ เป็นนํ้าที่มีสถานะต่าง ๆ ที่ตกจากท้องฟ้าถึงพื้นดิน

ฝน เกิดจากละอองน้ำ�ในเมฆที่รวมตัวกันมีอนุภาคใหญ่ขึ้นจนอากาศ

ไม่สามารถพยุงไว้ได้จึงตกลงมาเป็นหยดน้ำ� หิมะเกิดจากไอน้ำ�ในอากาศ

ระเหิดกลับหรือเปลี่ยนแปลงสถานะจากไอน้ำ�เป็นของแข็งจึงมีรูปร่าง

เป็นผลึก รวมตัวกันจนมีน้ำ�หนักมากขึ้นเกินกว่าอากาศจะพยุงไว้ได้

จึงตกลงมาในรูปของผลึกน้ำ�แข็ง ลูกเห็บเกิดจากหยดน้ำ�ที่เปลี่ยนสถานะ

เป็นน้ำ�แข็งเมื่อถูกพายุพัดขึ้นไปในบรรยากาศบริเวณซึ่งอุณหภูมิต่ำ�มาก

และถูกพัดพาวนขึ้นลงจนเป็นก้อนน้ำ�แข็งขนาดใหญ่แล้วตกลงมาสู่พื้นดิน

๒. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

กระบวนการเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ ได้อย่างถูกต้อง

๒. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

เกี่ยวกับกระบวนการเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จาการสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล นำ�

เสนอ และอภิปรายเปรียบเทียบกระบวนการเกิด

ฝน หิมะ ลูกเห็บ ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จ

ลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล

การเปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ

เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ

ถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล

กระบวนการเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ จากแหล่งข้อมูล

ที่เชื่อถือได้ และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล

จัดกระทำ�ข้อมูล นำ�เสนอ และอภิปราย

เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ

ลูกเห็บ

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอผล

การเปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ

ลูกเห็บ

๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวม

ข้อมูลกระบวนการเกิดฝน หิมะ ลูกเห็บ

223

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕