Table of Contents Table of Contents
Previous Page  225 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 225 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ

วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากการ

สังเกต การทดลอง การสืบค้นข้อมูลและการ

อภิปรายเพื่ออธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ

ขนาดของแรงเสียดทานและการเพิ่มและ

ลดแรงเสียดทานในกิจกรรมต่าง ๆ ที่พบใน

ชีวิตประจำ�วัน

๔. ทักษะการแก้ปัญหา โดยการวิเคราะห์

ปัญหาและเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่ม

แรงเสียดทานที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาที่

เกี่ยวข้องกับแรงเสียดทานในชีวิตประจำ�วัน

๕. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์

ประยุกต์ เพื่อสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล

และนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเพิ่มและ

ลดแรงเสียดทานในกิจกรรมต่าง ๆ ที่พบใน

ชีวิตประจำ�วัน

ด้านจิตวิทยาศาสตร์

ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่องแรงเสียด

ทานโดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอ

แนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็น

ประโยชน์ต่อการทำ�กิจกรรมในชีวิตประจำ�วัน

๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก

การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลจาก

การสังเกต การทดลอง การสืบค้นข้อมูลและการ

อภิปรายเพื่ออธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อขนาด

ของแรงเสียดทานและการเพิ่มและลดแรงเสียดทาน

ในกิจกรรมต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจำ�วันได้อย่าง

สมเหตุสมผล

๔. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา จากการวิเคราะห์

ปัญห า แ ล ะ เ ส น อ แ น ะ วิ ธี ก า ร ล ด ห รื อ เ พิ่ ม

แรงเสียดทานที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้อง

กับแรงเสียดทานในชีวิตประจำ�วันได้อย่างถูกต้อง

เหมาะสม

๕. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร จากการใช้เทคโนโลยีช่วยในการสืบค้น

ข้อมูลการเพิ่มและลดแรงเสียดทานในกิจกรรมต่างๆ

ที่พบในชีวิตประจำ�วันจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้

และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น

ด้านจิตวิทยาศาสตร์

ประเมินความตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่อง

แรงเสียดทานจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา

และเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็น

ประโยชน์ต่อการทำ�กิจกรรมในชีวิตประจำ�วัน

215

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒