การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการออกแบบตารางบันทึกผล
และการนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับโมเมนต์ของ
แรงและสภาพสมดุลต่อการหมุนด้วยรูปแบบ
หรือวิธีการต่าง ๆ
๔. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยการนำ�ข้อมูลจาก
การทดลองและจากสถานการณ์ต่าง ๆ มา
คำ�นวณโมเมนต์ของแรงและปริมาณต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง จากสมการ
M = Fl
๕. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้
ข้อมูลจากการสังเกต การอภิปราย การ
ทดลองและการสืบค้นข้อมูลมาอธิบาย
โมเมนต์ของแรง สภาพสมดุลต่อการหมุน
และการประยุกต์ใช้หลักการของโมเมนต์
ของแรงในชีวิตประจำ�วัน
๖. ทักษะการตั้งสมมติฐาน โดยระบุความ
สัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตามใน
การทดลองเพื่อ ศึกษาโมเมนต์ของแรงเมื่อ
วัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน
๗. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร โดย
กำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปร
ควบคุมในการทดลองเพื่อศึกษาโมเมนต์ของ
แรงเมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน
๘. ทักษะการทดลอง โดยออกแบบการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง และออกแบบตาราง
บันทึกผลการทดลองเพื่อศึกษาโมเมนต์ของ
แรงเมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน
๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล จากการออกแบบตารางบันทึกผลและการ
นำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับโมเมนต์ของแรงและสภาพ
สมดุลต่อการหมุนด้วยรูปแบบหรือวิธีการต่าง ๆ ที่
เข้าใจง่าย น่าสนใจ
๔. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการนำ�ข้อมูลจาก
การทดลองมาคำ�นวณโมเมนต์ของแรงและปริมาณ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากสมการ
M = Fl
พร้อมทั้งระบุ
หน่วยได้อย่างถูกต้อง
๕. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการใช้
ข้อมูลจากการสังเกต การอภิปราย การทดลองและ
การสืบค้นข้อมูลมาอธิบายโมเมนต์ของแรง สภาพ
สมดุลต่อการหมุน และการประยุกต์ใช้หลักการของ
โมเมนต์ของแรงในชีวิตประจำ�วันได้อย่างมีเหตุผล
๖. ประเมินทักษะการตั้งสมมติฐาน จากการระบุ
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตามใน
การทดลองเพื่อศึกษาโมเมนต์ของแรงเมื่อวัตถุอยู่ใน
สภาพสมดุลต่อการหมุนได้อย่างเหมาะสม
๗. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร จาก
การกำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปร
ควบคุมในการทดลองเพื่อศึกษาโมเมนต์ของแรง
เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุนได้ครบถ้วน
ถูกต้อง
๘. ประเมินทักษะการทดลอง จากการออกแบบการ
ทดลอง ปฏิบัติการทดลอง และออกแบบตารางบันทึก
ผลการทดลองเพื่อศึกษาโมเมนต์ของแรงเมื่อวัตถุอยู่
ในสภาพสมดุลต่อการหมุนได้ครบถ้วน ถูกต้อง
๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อลงข้อสรุปว่า
เมื่อมีแรง หลาย ๆ แรงกระทำ�ต่อวัตถุ โดยวัตถุไม่หมุน จะได้ว่าขนาด
ของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับขนาดของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
เขียนแทนด้วย
∑M
ทวน
=
∑M
ตาม
๙. ครูแนะนำ�เพิ่มเติมว่า เรียกสภาพของวัตถุที่ไม่หมุนว่า วัตถุอยู่ในสภาพ
สมดุลต่อการหมุน ซึ่งขนาดของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับขนาดของ
โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา นั่นคือ ผลรวมของโมเมนต์ของแรงที่กระทำ�ต่อ
วัตถุเป็นศูนย์
๑๐. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาพสมดุลต่อการหมุน
ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์เพื่อคำ�นวณหาโมเมนต์ของแรงและ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๑๑. นักเรียนตั้งคำ�ถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับของเล่นของใช้ในชีวิตประจำ�วันที่
ใช้หลักการโมเมนต์ของแรง เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล บันทึกข้อมูล
นำ�เสนอ
๑๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ของเล่น ของใช้หลายชนิด
ประกอบด้วยอุปกรณ์หลายส่วนที่ใช้หลักการโมเมนต์ของแรง เช่น
โมบาย คาน เครนยกของในการก่อสร้างอาคาร รวมทั้งเครื่องกลอย่างง่าย
บางชนิด
217
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒