ตัวชี้วัด
๒๒. วิเคราะห์สถานการณ์และคำ�นวณเกี่ยวกับงานและกำ�ลังที่เกิดจากแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุ โดยใช้สมการ
W = Fs
และ
P
= − จากข้อมูลที่รวบรวมได้
๒๓. วิเคราะห์หลักการทำ�งานของเครื่องกลอย่างง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้
๒๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของเครื่องกลอย่างง่ายโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
๑. เมื่อออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุ แล้วทำ�ให้
วัตถุเคลื่อนที่ โดยแรงอยู่ในแนวเดียวกับ
การเคลื่อนที่จะเกิดงาน งานจะมีค่ามากหรือ
น้อยขึ้นกับขนาดของแรงและระยะทางใน
แนวเดียวกับแรง งานมีหน่วยเป็นจูล
๒. งานที่ทำ�ในหนึ่งหน่วยเวลาเรียกว่ากำ�ลัง
กำ�ลังมีหน่วยเป็นวัตต์
๓. เครื่องกลทำ�หน้าที่ผ่อนแรง หรืออำ�นวย
ความสะดวก แต่ไม่ผ่อนงาน เครื่องกลอย่าง
ง่าย ได้แก่ คาน พื้นเอียง รอกเดี่ยว ลิ่ม สกรู
ล้อและเพลา ซึ่งนำ�ไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
ในชีวิตประจำ�วัน
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยการคำ�นวณงานและ
กำ�ลังที่เกิดจากแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุและทำ�ให้
วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงนั้น จากสมการ
W=Fs
และ
P
= −
ด้านความรู้
๑. อธิบายงานและวิธีการคำ�นวณงาน
๒. อธิบายกำ�ลังและวิธีการคำ�นวณกำ�ลัง
๓. อธิบายหลักการทำ�งานของเครื่องกลอย่างง่าย ได้แก่
คาน พื้นเอียง รอกเดี่ยว ลิ่ม สกรู ล้อและเพลา
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการคำ�นวณงาน
กำ�ลังและปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งระบุ
หน่วยของงานและกำ�ลัง จากสมการ
W = Fs
และ
P
= − ได้อย่างถูกต้อง
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับงานในทาง
วิทยาศาสตร์กับงานในความหมายของคนทั่วไป โดยอาจใช้วิธีซักถาม
และอภิปรายร่วมกันเพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นความหมายของงานใน
ทางวิทยาศาสตร์
๒. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของงาน และวิธีการ
คำ�นวณงาน บันทึกผลการสืบค้นข้อมูล นำ�เสนอ
๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปได้ว่างานเป็นผลของแรงที่ทำ�ให้
วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงนั้น หางานได้จากผลคูณขนาดของแรงกับ
ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเดียวกับแรง ตามสมการ
W= Fs
มีหน่วย
เป็นนิวตันเมตร หรือจูล
๔. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าเกิดงานหรือไม่
โดยพิจารณาจากทิศทางของแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุ และทิศทางการเคลื่อนที่
ของวัตถุ ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าสถานการณ์ใดเกิดงาน และ
คำ�นวณงานที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ
๕. นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสถานการณ์ที่มีการทำ�งานเท่ากันแต่ใช้เวลา
ต่างกัน เพื่อนำ�ไปสู่การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของกำ�ลัง และ
การคำ�นวณกำ�ลัง บันทึกผลและนำ�เสนอ
๖. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปได้ว่า กำ�ลังเป็นงานที่ทำ�ได้ใน
หนึ่งหน่วยเวลา คำ�นวณกำ�ลังได้จากอัตราส่วนระหว่างงานกับเวลาที่ใช้
หรือสมการ
P
= − กำ�ลังมีหน่วยเป็นจูลต่อวินาทีหรือวัตต์
W
t
W
t
W
t
W
t
228