Table of Contents Table of Contents
Previous Page  240 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 240 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๒๕. ออกแบบและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วง

ด้านความรู้

๑. พลังงานจลน์เป็นพลังงานของวัตถุที่เคลื่อนที่ซึ่ง

ขึ้นกับมวลของวัตถุและอัตราเร็วในการเคลื่อนที่

ของวัตถุ

๒. พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นพลังงานของวัตถุที่

ขึ้นกับมวลและตำ�แหน่งของวัตถุจากระดับ

อ้างอิง โดยเมื่อวัตถุอยู่ในสนามโน้มถ่วง วัตถุจะมี

พลังงานศักย์โน้มถ่วง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการวัด โดยวัดระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้เมื่อ

ปล่อยลูกตุ้มที่แขวนให้มาชน หรือวัดระยะที่วัตถุจม

ลงไปในพื้นทรายเมื่อปล่อยวัตถุให้ตกจากที่สูง

๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล โดย

การออกแบบตารางบันทึกผลและการนำ�เสนอ

ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์และ

พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ ด้วยรูปแบบหรือวิธี

การต่าง ๆ

๓. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร โดยกำ�หนด

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมของ

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับพลังงาน

ที่ เ กิดจากการทำ � ง าน ซึ่งประกอบด้วยพลัง ง านจลน์และ

พลังงานศักย์โน้มถ่วง โดยอาจใช้วิธีซักถาม ใช้สื่อต่าง ๆ เช่น

วีดิทัศน์ หรือใช้การสาธิตอุปกรณ์ที่แสดงถึงพลังงานจลน์และ

พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ พร้อมทั้งร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุป

เกี่ยวกับความหมายของพลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง

๒. นักเรียนตั้งคำ�ถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์และ

พลังงานศักย์โน้มถ่วงเพื่อนำ�ไปสู่การทดลอง เช่น การปล่อยลูกตุ้ม

ที่แขวนให้มาชนกับวัตถุที่อยู่นิ่งบนพื้นราบ แล้ววัดระยะทางที่วัตถุ

เคลื่อนที่ได้ หรือการปล่อยวัตถุให้ตกลงสู่พื้นทราย แล้ววัดระยะที่

วัตถุจมลงไปในพื้นทราย

๓. นักเรียนออกแบบการทดลองในการระบุปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์

และพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ ระบุตัวแปร สมมติฐานใน

การทดลอง และออกแบบตารางการบันทึกผลการทดลอง

๔. นักเรียนปฏิบัติการทดลองตามที่ได้ออกแบบไว้ เพื่อตรวจสอบ

สมมติฐาน สังเกตและบันทึกผลลงในตาราง

ด้านความรู้

อธิบายความหมายพลังงานจลน์

พลังงานศักย์โน้มถ่วง และปัจจัยที่มีผลต่อ

พลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการวัด จาการวัดระยะทางที่วัตถุ

เคลื่อนที่ได้เมื่อปล่อยลูกตุ้มที่แขวนให้มาชน หรือ

วัดระยะที่วัตถุจมลงไปในพื้นทรายเมื่อปล่อยวัตถุ

ให้ตกจากที่สูงพร้อมทั้งระบุหน่วยได้ถูกต้อง

๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการออกแบบตารางบันทึกผลและการนำ�

เสนอข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์

และพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ ด้วยรูปแบบหรือ

วิธีการต่าง ๆ ที่เข้าใจง่าย น่าสนใจ

๓. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร จาก

การกำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม

230