Table of Contents Table of Contents
Previous Page  185 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 185 / 284 Next Page
Page Background

จากการเรียนและทำ�กิจกรรม 3.1 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ครูและนักเรียนอาจร่วมกัน

อภิปรายเพื่อสรุปประเด็นสำ�คัญที่ทำ�ให้ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาสิ่งมีชีวิตให้ได้ประสิทธิภาพ

สูงสุด ดังนี้

- เลือกชนิดของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาสิ่งมีชีวิต

- รู้จักส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและสามารถใช้งานส่วนประกอบได้อย่างถูก

วิธี เพื่อให้ได้ภาพชัดและเห็นรายละเอียดสิ่งมีชีวิตได้มากที่สุด

- เตรียมตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้ถูกต้อง

- วาดภาพและวัดขนาดโดยประมาณจากตัวอย่างสิ่งมีชีวิตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้

- ดูแลและเก็บกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้ถูกวิธีเพื่อให้ใช้งานได้ยาวนาน

จากกิจกรรม 3.1 จะเห็นว่ากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบทำ�ให้มองเห็นโครงสร้างบางชนิด

ของเซลล์เท่านั้น การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะช่วยขยายศักยภาพการมองเห็นโครงสร้างอื่น

ของเซลล์ที่มองไม่เห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้

ถ้าวัตถุมีความยาว 4 ไมโครเมตร เมื่อนำ�มาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์จะมีความยาว

ประมาณ 4 มิลลิเมตร กล้องนี้มีกำ�ลังขยายเท่าใด แสดงวิธีคำ�นวณ

กล้องนี้มีกำ�ลังขยาย 1,000 เท่า

แสดงวิธีคำ�นวณ

กำ�ลังขยายของภาพ = กำ�ลังขยายของกล้อง

สูตร

กำ�ลังขยายของภาพ

= ขนาดของภาพ

ขนาดของวัตถุ

ขนาดของภาพ

=

4 × 10

3

4

= 1,000

ดังนั้นกล้องนี้มีกำ�ลังขยาย

= 1,000 เท่า

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์

ชีววิทยา เล่ม 1

173