ด้านความรู้
- ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง จากการเรียน และการทำ�
กิจกรรม
- วิธีการใช้และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ถูกต้อง รวมถึงวิธีการเตรียมตัวอย่าง
สิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง จากการทำ�กิจกรรม
- วิธีการวัดขนาดโดยประมาณและวาดภาพตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ใช้แสงเชิงประกอบ จากการทำ�กิจกรรม
ด้านทักษะ
- การสังเกต การวัด การจำ�แนกประเภท การใช้จำ�นวน และความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีม
และภาวะผู้นำ� จากการทำ�กิจกรรม
- การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการเลือกวิธีการเตรียมตัวอย่างสิ่งมีชีวิต
- การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากภาพวาด และคำ�บรรยายของภาพตัวอย่าง
สิ่งมีชีวิต
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น ความมุ่งมั่นอดทน ความใจกว้าง และการยอมรับความเห็นต่าง จาก
การสังเกตพฤติกรรมในการทำ�กิจกรรม
- ความซื่อสัตย์ จากการทำ�รายงานของการทำ�กิจกรรม
แนวการวัดและประเมินผล
ประเด็นใน
การเปรียบเทียบ
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
แบบส่องผ่าน (TEM)
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
แบบส่องกราด (SEM)
3. ความสามารถในการ
ขยายและการเห็นราย
ละเอียดของภาพ
กำ�ลังขยายสูงสุดประมาณ 1 ล้านเท่า กำ�ลังขยายสูงสุดประมาณ 400,000 เท่า
4. จุดประสงค์ ในกา ร
เลือกใช้กล้อง
ศึกษาโครงสร้างภายในของตัวอย่าง
ซึ่งต้องมีความบางมาก
ศึกษาโครงสร้างผิวด้านนอกของตัวอย่าง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์
ชีววิทยา เล่ม 1
175