Table of Contents Table of Contents
Previous Page  186 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 186 / 284 Next Page
Page Background

ตารางการเปรียบเทียบกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

ประเด็น

ในการเปรียบเทียบ

กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

1. ส่วนที่เกี่ยวกับการ

เกิดภาพ

- ตัวอย่างที่นำ�มาศึกษาอาจ

มีหรือไม่มีชีวิต

- ใช้แสงจากหลอดไฟ หรือ

ดวงอาทิตย์

- ชุดของเลนส์แก้ว

- เกิดภาพในลำ�กล้อง

- ตัวอย่างที่นำ�มาศึกษาต้องไม่มีชีวิตและแห้ง

ปราศจากน้ำ�

- ใช้ลำ�อิเล็กตรอน

- เลนส์รวมสนามแม่เหล็กไฟฟ้า

- เกิดภาพบนจอเรืองแสงหรือหลอดภาพของ

เครื่องรับโทรทัศน์

2. ความสามารถในการ

ขยายและการเห็น

รายละเอียดของภาพ

กำ�ลังขยายสูงสุดประมาณ

1,000 เท่า

กำ�ลังขยายสูงสุดประมาณ 1 ล้านเท่า

ตารางเปรียบเทียบการทำ�งานของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและส่องกราด

ประเด็นใน

การเปรียบเทียบ

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

แบบส่องผ่าน (TEM)

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

แบบส่องกราด (SEM)

1. หลักการทำ�งาน

แหล่ ง กำ � เ นิด อิ เ ล็ ก ต ร อนยิ ง ลำ �

อิเล็กตรอนผ่านเลนส์รวมสนาม

แม่เหล็กไฟฟ้าไปยังตัวอย่างชิ้นบางซึ่ง

ย้อมด้วยสารประกอบโลหะหนักที่ทึบ

ลำ�อิเล็กตรอน ลำ�อิเล็กตรอนจะส่อง

ผ่านตัวอย่างบริเวณที่ย้อมโลหะหนัก

ได้มากน้อยแตกต่างกันตามความหนา

ของโลหะหนักที่ย้อมติด จากนั้นลำ�

อิเล็กตรอนจะส่องผ่านไปยังชุดเลนส์

ใกล้วัตถุและเลนส์ฉายสนามแม่เหล็ก

ไฟฟ้าแล้วเกิดภาพบนจอรับภาพ

แหล่งกำ�เนิดอิเล็กตรอนยิงลำ�อิเล็กตรอน

ผ่านเลนส์รวมสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ผ่าน

ขดลวดส่องกราดเพื่อควบคุมลำ�อิเล็กตรอน

ให้ผ่านเลนส์ใกล้วัตถุสนามแม่เหล็กไฟฟ้า

ไปยังผิวของตัวอย่างที่เคลือบด้วยโลหะ

ประเภททองคำ� เกิดเป็นอิเล็กตรอนจาก

ทองคำ�ที่กระจายออกมาและจะถูกตรวจ

จับด้วยเครื่องตรวจจับแล้วแปลสัญญาณ

เป็นภาพแบบ 3 มิติ

2. ลักษณะของตัวอย่างที่

ใช้ศึกษา

ตัวอย่างเป็นชิ้นบางซึ่งย้อมด้วย

สารประกอบโลหะหนัก เช่น Lead

citrate, Uranium acetate, Osmium

tetraoxide ที่ทึบลำ�อิเล็กตรอน

ตัวอย่างที่เคลือบผิวด้วยโลหะประเภท

ทองคำ�

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์

ชีววิทยา เล่ม 1

174