Table of Contents Table of Contents
Previous Page  214 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 214 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านความรู้

เสียงสูง เสียงต่ำ�ขึ้นอยู่กับความถี่ของการสั่นของ

แหล่งกำ�เนิดเสียง โดยแหล่งกำ�เนิดเสียงที่สั่นด้วย

ความถี่มาก จะให้เสียงสูง แหล่งกำ�เนิดเสียงที่สั่น

ด้วยความถี่น้อย จะให้เสียงต่ำ� ความถี่ของเสียง

มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิรตซ์

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายเสียงสูง

เ สี ย ง ต่ำ � ที่ ไ ด้ ยิ น แ ล ะ ก า ร สั่ น ข อ ง

แหล่งกำ�เนิดเสียง

๒. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยการนับจำ�นวนรอบ

ในการแกว่งของวัตถุที่ติดกับเส้นเชือกพร้อม

ทั้งจับเวลาที่ใช้เพื่อคำ�นวณหาความถี่ใน

การแกว่งของวัตถุ

๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยออกแบบตารางบันทึกผลการ

ทดลองเสียงสูง เสียงต่ำ� และการนำ�เสนอ

ข้อมูลด้วยรูปแบบหรือวิธีการที่เหมาะสม

ด้านความรู้

อธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกรายละเอียด

สิ่งที่ปรากฏจริงเกี่ยวกับเสียงสูงต่ำ�ที่ได้ยิน ลักษณะ

ของแหล่งกำ�เนิดเสียงตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่ม

ความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการนับจำ�นวน

รอบในการแกว่งของวัตถุที่ติดกับเส้นเชือก พร้อมทั้ง

จับเวลาที่ใช้เพื่อคำ�นวณหาความถี่ในการแกว่งของ

วัตถุได้อย่างถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง

เสียงสูง เสียงต่ำ� และการนำ�เสนอข้อมูลด้วย

รูปแบบหรือวิธีการที่เหมาะสม

๑. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับเสียงสูง เสียงต่ำ� โดยอาจใช้การสาธิตหรือ

สื่อต่างๆ เช่น คลิปเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียงที่ให้เสียงสูง เสียงต่ำ�ต่างกัน

เพื่ออภิปรายร่วมกันและระบุว่าเสียงที่ได้ยินเป็นเสียงสูงหรือเสียงต่ำ�

๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิดเสียงสูง

เสียงต่ำ� โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น คลิปเสียงแบบต่าง ๆ

วีดิทัศน์ เพื่อนำ�ไปสู่การทดลองเพื่ออธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง

เสียงต่ำ�

๓. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความถี่ว่าหมายถึงจำ�นวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่

ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิรตซ์

๔. ครูสาธิตการแกว่งของวัตถุที่ติดกับเส้นเชือกโดยให้นักเรียนนับจำ�นวนรอบ

ในการแกว่งพร้อมกับจับเวลาที่ใช้ จากนั้นให้นักเรียนคำ�นวณหาค่าความถี่

ในการแกว่งของวัตถุนั้นเพื่อเชื่อมโยงความถี่ของการแกว่งของวัตถุกับ

การสั่นของแหล่งกำ�เนิดเสียง

๕. นักเรียนร่วมกันระบุตัวแปร สมมติฐานในการทดลองเกี่ยวกับการเกิด

เสียงสูง เสียงต่ำ� และออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง

๖. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานและสังเกต

เสียงสูง เสียงต่ำ�ที่ได้ยิน และการสั่นของแหล่งกำ�เนิดเสียง บันทึกผลและ

สรุปผลการทดลอง

๗. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลองโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุน

เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าเมื่อแหล่งกำ�เนิดเสียงสั่นด้วยความถี่สูง เสียงที่ได้ยิน

จะเป็นเสียงสูง และถ้าแหล่งกำ�เนิดเสียงสั่นด้วยความถี่ต่ำ� เสียงที่ได้ยิน

จะเป็นเสียงต่ำ�

204

ตัวชี้วัด

๑๑. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�