การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
อันตรายและวิธีป้องกันอันตรายที่เกิดจาก
มลพิษทางเสียง
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล
ที่ได้จากการทำ�กิจกรรมเพื่ออธิบายการได้ยิน
เสียงดัง เสียงค่อย และจากการสืบค้นข้อมูล
เกี่ยวกับมลพิษทางเสียง อันตรายและวิธี
ป้องกันอันตรายที่เกิดจากมลพิษทางเสียง
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการปฏิบัติเพื่อหาความ
สัมพันธ์ระหว่างพลังงานในการสั่นของ
แหล่งกำ�เนิดเสียง ระยะทางของแหล่งกำ�เนิด
เสียงกับผู้ฟัง และการได้ยินเสียงดัง เสียงค่อย
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยใช้วัดระดับเสียง สืบค้นข้อมูล
จัดกระทำ�ข้อมูล และนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยว
กับมลพิษทางเสียง อันตรายและวิธีป้องกัน
อันตรายที่เกิดจากมลพิษทางเสียง
ป้องกันอันตรายที่เกิดจากมลพิษทางเสียงร่วมกับ
ผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล
การสังเกตสังเกตและการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการ
เกิดเสียงดัง เสียงค่อย มลพิษทางเสียง อันตราย และ
วิธีป้องกันอันตรายที่เกิดจากมลพิษทางเสียงให้ผู้อื่น
ฟังอย่างเข้าใจ และน่าสนใจ
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการปฏิบัติเพื่อหาความสัมพันธ์
ระหว่างพลังงานในการสั่นของแหล่งกำ�เนิดเสียง
ระยะห่างระหว่างแหล่งกำ�เนิดเสียงกับผู้ฟังและ
การได้ยินเสียงดัง เสียงค่อยได้อย่างสมเหตุสมผล
๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการใช้เทคโนโลยีช่วยในการวัด
ระดับเสียง สืบค้นข้อมูลอย่างถูกต้อง มีจริยธรรมโดย
ไม่คัดลอกงานของผู้อื่น มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่
สืบค้น และใช้โปรแกรมที่เหมาะสมจัดกระทำ� และ
นำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง อันตรายและ
วิธีป้องกันอันตรายที่เกิดจากมลพิษทางเสียงได้อย่าง
เหมาะสม
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ประเมินความตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับ
เสียงจากการเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลด
มลพิษทางเสียงได้อย่างเหมาะสม
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับเสียงโดย
เสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษ
ทางเสียง
210