Table of Contents Table of Contents
Previous Page  215 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 215 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๔. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ

เชื่อมโยงความรู้จากการทดลองเพื่อลงความเห็น

เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการสั่น

ของวัตถุและเสียงสูง เสียงต่ำ�ที่ได้ยินได้อย่างมี

เหตุผล

๕. ประเมินทักษะการตั้งสมมติฐาน จากการคาดการณ์

ผลของความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตาม

ที่ทำ�ให้เกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�ได้อย่างถูกต้อง

๖. ประเมินทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ จาก

การกำ�หนดความหมายและขอบเขตของคำ�ต่าง ๆ

ที่สอดคล้องกับการทดลองเพื่ออธิบายการเกิด

เสียงสูง เสียงต่ำ� ในสมมติฐานให้เข้าใจตรงกัน

สามารถสังเกตหรือวัดได้

๗. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร จาก

การระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้อง

ควบคุมให้คงที่ได้อย่างถูกต้อง

๘. ประเมินทักษะการทดลอง จากการปฏิบัติกิจกรรม

การทดลองตามที่ออกแบบไว้เพื่อตอบสมมติฐาน

เกี่ยวกับการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�ได้อย่างถูกต้อง

๙. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้จาก

การสังเกตและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการเกิดเสียงสูง

เสียงต่ำ�ได้ถูกต้องและครบถ้วน

๔. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย

อภิปรายและเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับความ

สัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการสั่นของวัตถุ

และเสียงสูง เสียงต่ำ�ที่ได้ยิน

๕. ทักษะการตั้งสมมติฐาน โดยคาดการณ์

ผลของความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและ

ตัวแปรตามที่ทำ�ให้เกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�

๖. ทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ โดย

กำ�หนดความหมายและขอบเขตของคำ�

ต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับการทดลองเพื่อ

อธิบายการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�

๗. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร โดย

ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่

ต้องควบคุมให้คงที่

๘. ทักษะการทดลอง โดยปฏิบัติกิจกรรมการ

ทดลองตามที่ออกแบบไว้เพื่อตอบสมมติฐาน

เกี่ยวกับการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�

๙. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้ หรือ

ความสัมพันธ์ของข้อมูลเพื่อลงข้อสรุป

เกี่ยวกับการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ�

205

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕