Table of Contents Table of Contents
Previous Page  218 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 218 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายความดังของ

เสียงที่ได้ยินจากการทดลอง

๒. ทักษะการวัด จากการวัดระดับเสียงโดยใช้

เครื่องวัดระดับเสียง หรือโปรแกรมประยุกต์

(application) และระบุหน่วยของระดับเสียง

๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลได้จากการสืบค้นจาก

แหล่งต่าง ๆ มาแยกประเภท และจัดกระทำ�

ใหม่ เพื่อนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษ

ทางเสียง อันตรายและวิธีป้องกันอันตราย

๔. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย

อภิปรายและเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการ

เกิดเสียงกับข้อมูลที่สังเกตได้มาอธิบายการ

เกิดเสียงดัง เสียงค่อย และข้อมูลที่ได้จากการ

สืบค้นจากแหล่งต่าง ๆ เพื่ออธิบายเกี่ยวกับ

มลพิษทางเสียง อันตรายและวิธีป้องกัน

อันตรายที่เกิดจากมลพิษทางเสียง

๕. ทักษะการตั้งสมมติฐาน โดยคาดการณ์ผล

ของความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปร

ตามที่ทำ�ให้เกิดเสียงดัง เสียงค่อย

๖. ทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ โดย

กำ�หนดความหมายและขอบเขตของคำ�

ต่างๆ ที่สอดคล้องกับการทดลองเพื่ออธิบาย

การเกิดเสียงดัง เสียงค่อย

๖. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าความดังของเสียงหรือระดับเสียงมีหน่วยเป็น

เดซิเบล

๗. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีการวัดระดับ

เสียงเพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมการวัดระดับเสียง

๘. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้เครื่องวัดระดับเสียง หรือโปรแกรมประยุกต์

(application) ในการวัดระดับเสียงในสถานที่ต่าง ๆ บันทึกผล และ

นำ�เสนอ

๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อให้ได้

ข้อสรุปว่าการวัดระดับเสียงทำ�ได้โดยใช้เครื่องวัดระดับเสียง สถานที่ต่างๆ

มีระดับเสียงต่างกัน

๑๐. นักเรียนสร้างคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับเสียงที่ทำ�ให้เกิดอันตรายต่อการได้ยิน

และวิธีป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล

๑๑. นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร หรือ

สอบถามผู้ที่ทำ�งานอยู่ในหน่วยงานหรือองค์กร หรืออื่นๆ บันทึกผลและ

นำ�เสนอ

๑๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเพื่อลงข้อสรุปว่า

เสียงดังมาก ๆ ที่เป็นอันตรายต่อการได้ยินและเสียงที่ก่อให้เกิด

ความรำ�คาญเป็นมลพิษทางเสียง เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น

เราควรหลีกเลี่ยงที่จะอยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกินไป หรือควรใส่อุปกรณ์

ป้องกัน

๑๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยนำ�ข้อมูลจากการวัดระดับเสียงในสถานที่

ต่างๆ มาวิเคราะห์ร่วมกันว่าบริเวณใดบ้างที่เป็นบริเวณที่มีมลพิษทางเสียง

พร้อมเสนอแนะแนวทางการหลีกเลี่ยงหรือลดมลพิษทางเสียง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบรรยายความดัง

ของเสียงที่ได้ยินจากการทดลองตามความเป็นจริง

โดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการวัด จากการวัดระดับเสียงโดย

ใช้เครื่องวัดระดับเสียง หรือโปรแกรมประยุกต์

(application) พร้อมทั้งระบุหน่วยของระดับเสียงได้

อย่างถูกต้องเหมาะสม

๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลได้จากการสืบค้นจากแหล่ง

ต่าง ๆ มาแยกประเภท และจัดกระทำ�ใหม่ เพื่อ

นำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง อันตรายและ

วิธีป้องกันอันตรายในรูปแบบที่เหมาะสม มีความ

ถูกต้อง และเข้าใจง่าย

๔. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย

อภิปรายและเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการเกิดเสียง

กับข้อมูลที่สังเกตได้มาอธิบายการเกิดเสียงดัง

เสียงค่อย และข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจาก

แหล่งต่าง ๆ เพื่ออธิบายเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง

อันตรายและวิธีป้องกันอันตรายที่เกิดจากมลพิษ

ทางเสียงได้อย่างถูกต้อง

๕. ประเมินทักษะการตั้งสมมติฐาน จากการคาดการณ์

ผลของความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตาม

ที่ทำ�ให้เกิดเสียงดัง เสียงค่อยได้อย่างถูกต้อง

208