Table of Contents Table of Contents
Previous Page  219 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 219 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๗. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร โดย

ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่

ต้องควบคุมให้คงที่เกี่ยวกับการเกิดเสียงดัง

เสียงค่อย

๘. ทักษะการทดลอง โดยปฏิบัติกิจกรรม

การทดลองตามที่ออกแบบไว้เพื่อตอบ

สมมติฐานเกี่ยวกับการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย

๙. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลจากการสังเกต

และการสืบค้นข้อมูลเพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

การเกิดเสียงดัง เสียค่อยและมลพิษทางเสียง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต แลก

เปลี่ยนผลการสังเกต และอภิปรายเกี่ยวกับ

ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานในการสั่นของ

แหล่งกำ�เนิดเสียง ระยะทางของแหล่งกำ�เนิด

เสียงกับผู้ฟัง และการลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

การได้ยินเสียงดัง เสียงค่อย มลพิษทางเสียง

๖. ประเมินทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ จาก

การกำ�หนดความหมายและขอบเขตของคำ�ต่าง ๆ

ที่สอดคล้องกับการทดลองเพื่ออธิบายการเกิด

เสียงดัง เสียงค่อย ไว้ในสมมติฐานให้เข้าใจตรงกัน

สามารถสังเกตหรือวัดได้

๗. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร จาก

การระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้อง

ควบคุมให้คงที่เกี่ยวกับการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย

ได้อย่างถูกต้อง

๘. ประเมินทักษะการทดลอง จากการปฏิบัติกิจกรรม

การทดลองตามที่ออกแบบไว้เพื่อตอบสมมติฐาน

เกี่ยวกับการเกิดเสียงดัง เสียงค่อยได้อย่างถูกต้อง

๙. ประ เ มินทักษะการตีความหมายข้อมูลและ

ลงข้อสรุป จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้

จากการสังเกตและสืบค้นข้อมูลเพื่อลงข้อสรุป

เกี่ยวกับการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย และมลพิษ

ทางเสียงได้อย่างถูกต้อง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นในการสังเกต

แลกเปลี่ยนผลการสังเกต และอภิปรายเกี่ยว

กับความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานในการสั่นของ

แหล่งกำ�เนิดเสียง ระยะทางของแหล่งกำ�เนิดเสียง

กับผู้ฟัง และการลงข้อสรุปเกี่ยวกับการได้ยินเสียงดัง

เสียงค่อย และมลพิษทางเสียง อันตรายและวิธี

209

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕