Table of Contents Table of Contents
Previous Page  250 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 250 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ

เชื่อมโยงความรู้ในเรื่องพลังงานไฟฟ้ากับข้อมูล

ที่สังเกตได้เพื่อลงความเห็นและอธิบายเกี่ยวกับ

การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่ของแต่ละ

ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าได้อย่างมีเหตุผล

๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่สังเกตและสืบค้น

ข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

และหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าได้

ถูกต้องและครบถ้วน

๔. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแผนภาพ

วงจรไฟฟ้าอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายได้

ถูกต้อง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการต่อวงจรไฟฟ้า

การสังเกต การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย

เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่ของแต่ละ

ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่

เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

ข้อมูลจากการสังเกต การสืบค้นข้อมูล มาวิเคราะห์

เพื่ออธิบายเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่

ของแต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าในรูปแบบที่

ผู้อื่นเข้าใจง่าย และถูกต้อง

๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยอภิปราย

และเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า

กับข้อมูลที่สังเกตได้มาอธิบายเกี่ยวกับการ

ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่ของแต่ละ

ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้า

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้ จาก

การสังเกตและสืบค้นข้อมูล เพื่อลงข้อสรุป

เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่ของ

แต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้า

๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยเขียนแผนภาพ

วงจรไฟฟ้าอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการต่อวงจรไฟฟ้า

การสังเกต การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย

เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่ของ

แต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้า

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล

จากการสังเกต การสืบค้นข้อมูล มาวิเคราะห์

เพื่ออธิบายเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและ

หน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้า

๘. ครูกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบ

ในวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล

๙. นักเรียนสืบค้นข้อมูลหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าจาก

แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น เวบไซต์ที่มีความน่าเชื่อถือทางวิชาการ หนังสือใน

ห้องสมุด บันทึกผล

๑๐. นักเรียนนำ�เสนอผลการสืบค้นข้อมูล ร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุป

ว่าแหล่งกำ�เนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉายทำ�หน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้า

สายไฟฟ้าเป็นตัวนำ�ไฟฟ้าทำ�หน้าที่เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำ�เนิดไฟฟ้าและ

เครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น

พลังงานอื่น

240