Table of Contents Table of Contents
Previous Page  251 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 251 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย

การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูล

เพื่ออธิบายหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบ

ในวงจรไฟฟ้า

๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ

หน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของวงจร

ไฟฟ้าอย่างง่าย

๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ

วิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูลเพื่ออธิบาย

หน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าได้อย่าง

สมเหตุสมผล

๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่

ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีการอ้างอิง

แหล่งข้อมูลที่สืบค้น

ด้านความรู้

๑. เมื่อนำ�เซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน

โดยให้ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่ง

ต่อกับขั้วลบของเซลล์ไฟฟ้าอีกเซลล์หนึ่ง

เป็นการต่อแบบอนุกรม ทำ�ให้มีพลังงาน

ไฟฟ้ามากขึ้น เหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้า

ด้านความรู้

๑. อธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ

อนุกรม

๒. ระบุประโยชน์จากการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม

และยกตัวอย่างการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมใน

ชีวิตประจำ�วัน

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้า

แบบอนุกรม โดยอาจใช้กิจกรรมสาธิต ใช้สื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์ หรือใช้

การซักถาม เพื่อนำ�ไปสู่การทดลองวิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้า ที่ทำ�ให้มีพลังงาน

ไฟฟ้ามากขึ้น

241

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

ตัวชี้วัด

๕. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม

๖. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน