การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
๙. อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์
๑๐. เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว
๑. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิดเงาในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้คำ�ถาม
หรือสื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ วีดิทัศน์
๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิดเงา โดย
อาจใช้การซักถาม ใช้กิจกรรมสาธิต เช่น การใช้มือทำ�ให้เกิดเงาแบบต่างๆ
หรือให้นักเรียนดูวีดิทัศน์การเชิดหนังตะลุง เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรม
การเกิดเงา
๓. นักเรียนออกแบบการทำ�กิจกรรมเพื่อหาคำ�ตอบเกี่ยวกับการเกิดเงาและ
ลักษณะของเงาโดยใช้อุปกรณ์ที่กำ�หนด เช่น ไฟฉาย ลูกปิงปอง กระดาษแข็ง
และปฏิบัติกิจกรรมตามที่ออกแบบไว้ บันทึกผลและนำ�เสนอ
๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อ
ให้ได้ข้อสรุปว่าการเกิดเงาจะต้องมีแหล่งกำ�เนิดแสง วัตถุทึบแสงที่นำ�มา
กั้นแสง และฉาก โดยเมื่อมีวัตถุทึบแสงมากั้นการเคลื่อนที่ของแสงจะทำ�ให้
เกิดเงาบนฉาก โดยพื้นที่บนฉากบางบริเวณไม่มีแสงตกกระทบ และพื้นที่
บนฉากบางบริเวณมีแสงตกกระทบบางส่วน โดยเงาอาจมีรูปร่างคล้ายกับ
วัตถุที่กั้นแสง
๕. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าบริเวณบนฉากที่ไม่มีแสงตกกระทบเลย เรียกว่า
เงามืด ส่วนบริเวณบนฉากที่มีแสงตกกระทบบางส่วนเรียกว่า เงามัว และ
เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืด เงามัว
ด้านความรู้
๑. เมื่อนำ�วัตถุทึบแสงมากั้นแสงจะเกิดเงาบน
ฉากรับแสงที่อยู่ด้านหลังวัตถุ
๒. เงามืดเป็นบริเวณบนฉากที่ไม่มีแสงตกกระ
ทบส่วนเงามัวเป็นบริเวณบนฉากที่มีแสงตก
กระทบบางส่วน
๓. การเกิดเงาสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้
ด้านความรู้
๑. อธิบายการเกิดเงา
๒. อธิบายและบอกความแตกต่างระหว่างเงามืด เงามัว
และเขียนแผนภาพแสดงการเกิดเงามืด เงามัว
๓. ยกตัวอย่างการนำ�ความรู้เรื่องการเกิดเงาไปใช้
ประโยชน์
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายลักษณะของ
เงาที่เกิดขึ้นบนฉาก
๒. ทักษ ะ ก า ร ห า ค ว า ม สั มพัน ธ์ ร ะ ห ว่ า ง
สเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา โดยบอก
ความสัมพันธ์ของรูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุ
ที่นำ�มากั้นแสงกับรูปร่างของเงาที่ปรากฏ
บนฉาก
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้ เพื่อลง
ข้อสรุปเกี่ยวกับการเกิดเงาและลักษณะ
ของเงา
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึกราย
ละเอียดลักษณะของเงาตามความเป็นจริง โดย
ไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ
กับสเปซและสเปซกับเวลา จากการบอกความ
สัมพันธ์ของรูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุที่นำ�มา
กั้นแสงกับรูปร่างของเงาที่ปรากฏบนฉากได้อย่าง
ถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
จากการทำ�ความเข้าใจและวิเคราะห์ผลการสังเกต
และลงข้อสรุปเกี่ยวกับการเกิดเงาและลักษณะของ
เงาได้ถูกต้องและครบถ้วน
248