การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
๑. หินเป็นวัสดุแข็งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ประกอบด้วยแร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป
หินจำ�แนกออกได้ ๓ ประเภท โดยใช้
กระบวนการเกิดเป็นเกณฑ์ ได้แก่ หินอัคนี
หินตะกอน และหินแปร หินอัคนี เกิดจาก
การเย็นตัวหรือแข็งตัวของหินหลอมเหลว
เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึก ทั้งผลึกขนาด
ใหญ่และขนาดเล็ก บางชนิดอาจเป็นเนื้อแก้ว
หรือมีรูพรุน หินตะกอน เกิดจากการทับถม
ของตะกอนเมื่อถูกแรงกดทับและมีสารเชื่อม
ประสานจึงเกิดเป็นหิน เนื้อหินส่วนใหญ่
มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้งเนื้อหยาบ
และเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่
ยึดเกาะกัน บางชนิดมีลักษณะเป็นชั้นๆ ส่วน
หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิม
ซึ่งอาจเป็นหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
โดยการกระทำ�ของความร้อน ความดัน และ
ปฏิกิริยาเคมี เนื้อหินของหินแปรบางชนิด
ผลึกของแร่อาจเรียงตัวขนานกันเป็นแถบ
บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่มีความแข็งมาก
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับลักษณะและ
ประเภทของหิน โดยอาจใช้สถานการณ์ คำ�ถาม หรือสื่อต่างๆ เช่น รูปภาพ
ของหินชนิดต่าง ๆ เพื่อนำ�ไปสู่การสังเกตหิน
๒. ครูให้นักเรียนสังเกตหินจากชุดตัวอย่างหิน รวบรวมข้อมูล จากนั้นนักเรียน
ร่วมกันจำ�แนกหินโดยใช้เกณฑ์ของตนเอง บันทึกผล
๓. นักเรียนสร้างแบบจำ�ลองการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ตาม
วิธีการที่กำ�หนด และนำ�เสนอความรู้ที่ได้จากแบบจำ�ลอง
๔. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการเกิดของหิน
และการจำ�แนกหินจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือ เช่น อินเทอร์เน็ต
หนังสือหรือใบความรู้
๕. นักเรียนร่วมกันรวบรวมข้อมูลจากการสร้างแบบจำ�ลองและการสืบค้นเพื่อ
จำ�แนกหินจากชุดตัวอย่างหินอีกครั้งโดยใช้เกณฑ์จากกระบวนการเกิดหิน
บันทึกผล และนำ�เสนอ
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบกระบวนการเกิดหิน เพื่อ
ลงข้อสรุปว่า หินจำ�แนกได้ ๓ ประเภท โดยใช้กระบวนการเกิดเป็นเกณฑ์
ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร หินอัคนี เกิดจากการเย็นตัว
หรือแข็งตัวของหินหลอมเหลว เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึก ทั้งผลึกขนาด
ใหญ่และขนาดเล็ก บางชนิดอาจเป็นเนื้อแก้ว หรือมีรูพรุน หินตะกอน
เกิดจากการทับถมของตะกอนเมื่อถูกแรงกดทับและมีสารเชื่อมประสาน
จึงเกิดเป็นหิน เนื้อหินส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้งเนื้อหยาบ
และเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่ยึดเกาะกัน บางชนิดมีลักษณะ
เป็นชั้น ๆ ส่วนหินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมซึ่งอาจเป็น
ด้านความรู้
๑. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน
และหินแปร
๒. อธิบายวัฏจักรหิน
254
ตัวชี้วัด
๓. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจากแบบจำ�ลอง