การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
รายละเอียดการสังเกตกระบวนการในการเกิด
ซากดึกดำ�บรรพ์ได้อย่างครบถ้วน ตามความเป็น
จริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
แบบจำ�ลองและการสืบค้น มาลงความเห็นเกี่ยวกับ
กระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์และสภาพแวดล้อม
ในอดีต ได้อย่างสมเหตุสมผล
๓. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแบบจำ�ลอง
ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้องกระบวนการเกิด
ซากดึกดำ�บรรพ์
๒. ซากดึกดำ�บรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐาน
หนึ่งที่ช่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพื้นที่
ในอดีตขณะมีสิ่งมีชีวิตนั้น เช่น ถ้าพบ
ซากดึกดำ�บรรพ์ของหอยน้ำ�จืด บริเวณภูเขา
ในปัจจุบัน แสดงว่าในอดีตสภาพแวดล้อม
บริเวณนั้นอาจเคยเป็นแหล่งน้ำ�จืดมาก่อน
และถ้าพบซากดึกดำ�บรรพ์ของพืชบก
สภาพแวดล้อมบริเวณนั้นอาจเคยเป็นป่า
๔. นักเรียนนำ�เสนอแบบจำ�ลองเพื่ออธิบายกระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์
และร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า ซากดึกดำ�บรรพ์เป็นซากหรือ
ร่องรอยของพืชหรือสัตว์ในอดีตซึ่งถูกเก็บรักษาไว้ในหินหรือชั้นหิน
จากการสะสมและทับถมของตะกอนในแอ่งสะสมตะกอน โดยทั่วไป
ซากดึกดำ�บรรพ์ที่มีอายุมากมักอยู่ในชั้นหินด้านล่าง ส่วนที่อายุน้อยกว่า
จะอยู่ในชั้นหินด้านบน
๕. ครูนำ�รูปภาพตัวอย่างของซากดึกดำ�บรรพ์แบบต่าง ๆ ของประเทศไทย
เช่น ซากดึกดำ�บรรพ์ของหอย ปลา ปะการัง ไม้กลายเป็นหิน ช้าง หรือ
ไดโนเสาร์ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับ
สภาพแวดล้อมในอดีตจากซากดึกดำ�บรรพ์ แล้วสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อ
ร่วมกันอภิปรายและลงความเห็นจากข้อมูลว่า สภาพแวดล้อมในอดีตเป็น
อย่างไร ดังนั้น ซากดึกดำ�บรรพ์จึงเป็นหลักฐานอย่างหนึ่งที่ช่วยอธิบาย
สภาพแวดล้อมของพื้นที่ในอดีต
มาก่อน
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตกระบวนการใน
การเกิดซากดึกดำ�บรรพ์จากแบบจำ�ลอง
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้
ข้อมูลที่ได้จากแบบจำ�ลองและการสืบค้น
มาลงความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการเกิด
ซากดึกดำ�บรรพ์และสภาพแวดล้อมในอดีต
๓. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยการนำ�ข้อมูล
ที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลมาออกแบบและ
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพื่อสร้างแบบจำ�ลอง
กระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์
260