Table of Contents Table of Contents
Previous Page  273 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 273 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตแบบจำ�ลอง

เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อน

๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการสืบค้นข้อมูลเรื่องลมบก

ลมทะเล และมรสุมมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ

๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำ�

ข้อมูลที่ได้จากแบบจำ�ลองการถ่ายโอน

ความร้อนและการสืบค้นข้อมูล มาลง

ความเห็นเกี่ยวกับการเกิดลมบก ลมทะเล

และมรสุม

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสังเกต รวบรวม

ข้อมูล สืบค้นข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล นำ�เสนอ

และอภิปราย เกี่ยวกับการเกิดและผลของ

ลมบก ลมทะเล และมรสุม

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ

แบบจำ�ลองการเกิดลมบก ลมทะเล และ

มรสุม

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก

รายละเอียดการสังเกตการทดลองการถ่ายโอน

ความร้อนได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามความเป็นจริง

โดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการสืบค้นข้อมูลเรื่องลมบก ลมทะเล

และมรสุม มาจัดกระทำ�และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง

เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ

ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก

การอธิบายผลจากข้อมูลที่ได้จากแบบจำ�ลอง

การถ่ายโอนความร้อนและการสืบค้นข้อมูล มา

ลงความเห็นเกี่ยวกับลมบก ลมทะเล และมรสุม

ได้อย่างสมเหตุสมผล

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการสังเกต รวบรวมข้อมูล สืบค้นข้อมูล

จัดกระทำ�ข้อมูล นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับ

การเกิดและผลของลมบก ลมทะเล และมรสุมร่วมกับ

ผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

แบบจำ�ลองการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุมเพื่อ

ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

อากาศเหนือพื้นน้ำ�จึงมีอุณหภูมิสูงกว่าแล้วลอยตัวสูงขึ้น อากาศเหนือ

พื้นดินซึ่งเย็นกว่าจะพัดไปแทนที่ทำ�ให้เกิดลมบก มรสุมมีสาเหตุและ

ลักษณะการเกิดเช่นเดียวกับลมบก ลมทะเล แต่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่นาน

กว่าเป็นฤดู และครอบคลุมบริเวณพื้นที่มากกว่า โดยครอบคลุมพื้นทวีป

และพื้นมหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียงกัน

๖. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผลของลมบก ลมทะเล และมรสุม จาก

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้ จากนั้น

จัดกระทำ�ข้อมูลในรูปแบบที่น่าสนใจ และนำ�เสนอ

๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ลมบก ลมทะเล และมรสุม

ส่งผลต่อการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น

มนุษย์อาศัยลมบกในการแล่นเรือออกทะเลในเวลากลางคืน และอาศัย

ลมทะเลพาเรือเข้าฝั่งในเวลากลางวัน ส่วนมรสุมนอกจากมีประโยชน์ต่อ

การเดินเรือแล้ว ยังทำ�ให้ประเทศไทยเกิดฤดู

263

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖