Table of Contents Table of Contents
Previous Page  269 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 269 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล

การใช้ประโยชน์จากหินและแร่ตามลักษณะ

และสมบัติที่แตกต่างกัน

๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลการ

ใช้ประโยชน์จากหินและแร่ตามลักษณะและสมบัติ

ที่แตกต่างกัน จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ และมี

การอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น

ด้านความรู้

๑. ซากดึกดำ�บรรพ์ เป็นซากหรือร่องรอยของ

พืชหรือสัตว์ในอดีตซึ่งถูกเก็บรักษาไว้ใน

หินหรือชั้นหินจากการสะสมและทับถม

ของตะกอนในแอ่งสะสมตะกอน โดยทั่วไป

ซากดึกดำ�บรรพ์ที่มีอายุมากมักอยู่ในชั้นหิน

ด้านล่าง ส่วนที่อายุน้อยกว่าจะอยู่ในชั้นหิน

ด้านบน

ด้านความรู้

๑. อธิบายกระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์

๒. คาดคะเนและอธิบายสภาพแวดล้อมในอดีตจาก

ซากดึกดำ�บรรพ์ที่พบในแหล่งนั้นๆ

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิด

ซากดึกดำ�บรรพ์ โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่น

ตัวอย่างซากดึกดำ�บรรพ์จำ�ลอง รูปภาพ วีดิทัศน์ของซากดึกดำ�บรรพ์เพื่อ

นำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล

๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์ จากแหล่ง

ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้ รวบรวมข้อมูล

และบันทึกผล

๓. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม มาสร้าง

แบบจำ�ลองการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์

259

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

ตัวชี้วัด

๕. สร้างแบบจำ�ลองที่อธิบายการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำ�บรรพ์