การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
๑. เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนว
เส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ โดยดวงจันทร์
อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์และโลก ในระยะทาง
ที่เหมาะสม ทำ�ให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์
เงาของดวงจันทร์ที่ทอดมายังโลกทำ�ให้
เกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา โดยผู้สังเกต
ที่อยู่บริเวณเงาของดวงจันทร์จะมองเห็น
ดวงอาทิตย์มืดไปทั้งดวงหรือมืดไปบางส่วน
๒. เมื่อโลกและดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนว
เส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ โดยโลก
อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ใน
ระยะทางที่เหมาะสมทำ�ให้เงาของโลกทอด
ไปในอวกาศ เมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเงา
ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคา โดย
ผู้สังเกตบนโลกจะมองเห็นดวงจันทร์มืดไป
ทั้งดวงหรือมืดไปบางส่วน
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิด
สุริยุปราคาและจันทรุปราคา โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือ
สื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำ�ไปสู่การสร้าง
แบบจำ�ลอง
๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและออกแบบสร้างแบบจำ�ลอง เพื่ออธิบาย
การเกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคาตามความเข้าใจของตัวเอง
๓. นักเรียนนำ�เสนอ และใช้แบบจำ�ลองที่สร้างขึ้นอธิบายเกี่ยวกับการเกิด
ปรากฏการณ์สุริยุปราคา
๔. นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ
เกี่ยวกับการเกิดสุริยุปราคา
๕. นักเรียนวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
เพื่อใช้ในการปรับปรุงแบบจำ�ลองที่สร้างขึ้นมาก่อน
๖. นักเรียนอภิปรายและเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการสังเกตและการอภิปราย
จากแบบจำ�ลองเพื่อลงข้อสรุปว่า เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ใน
แนวเส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ โดยดวงจันทร์อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์
และโลก ในระยะทางที่เหมาะสม ทำ�ให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ เงาของ
ด้านความรู้
อธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณ์
สุริยุปราคาและจันทรุปราคา
250
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้ง
ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
ตัวชี้วัด
๑. สร้างแบบจำ�ลองที่อธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา