Table of Contents Table of Contents
Previous Page  202 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 202 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ที่แตกต่างกัน และสารต่างชนิดกันมีสภาพ

ละลายได้ในตัวทำ�ละลายหนึ่ง ๆ ไม่เท่ากัน

เมื่ออุณหภูมิคงที่

๔. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สภาพละลายได้ของสาร

ส่วนมากจะเพิ่มขึ้น ยกเว้นแก๊สเมื่ออุณหภูมิ

สูงขึ้นสภาพการละลายได้จะลดลง ส่วน

ความดันมีผลต่อสภาพละลายได้ของแก๊ส

โดยเมื่อความดันเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้

ของแก๊สจะเพิ่มขึ้น

๕. ความรู้เกี่ยวกับสภาพละลายได้ของสาร

เมื่อเปลี่ยนแปลงชนิดตัวละลาย และ

ตัวทำ�ละลาย อุณหภูมิและความดัน สามารถ

นำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วัน เช่น

การทำ�น้ำ�เชื่อมเข้มข้น การสกัดสารออกจาก

สมุนไพรให้ได้ปริมาณมากที่สุด

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตการเปลี่ยนแปลง

ที่เกิดขึ้นเมื่อเติมตัวละลายลงในตัวทำ�ละลาย

ที่มีปริมาณคงที่ ณ อุณหภูมิหนึ่ง และการ

เปลี่ยนแปลงของชนิดตัวละลาย ชนิด

ตัวทำ�ละลาย อุณหภูมิ และความดันที่มีต่อ

สภาพละลายได้ และบันทึกสิ่งที่สังเกตได้

๖. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม โดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อค่อย ๆ

เติมตัวละลายลงในตัวทำ�ละลายที่มีปริมาณคงที่ ณ อุณหภูมิหนึ่ง บันทึก

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และปริมาณตัวละลายที่มากที่สุดที่สามารถ

ละลายได้ วิเคราะห์ สรุปผลและนำ�เสนอ

๘. ครูรวบรวมข้อมูลทั้งชั้นเรียนและใช้คำ�ถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย

เพื่อลงข้อสรุปว่า เมื่อเติมตัวละลายลงในสารละลาย ณ อุณหภูมิหนึ่ง

ตัวละลายจะเหลืออยู่ในสารละลาย เพราะตัวละลายไม่สามารถละลายใน

ตัวทำ�ละลายได้อีกต่อไปที่อุณหภูมินั้น

๙. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า สารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายใน

ตัวทำ�ละลายได้อีกต่อไปที่อุณหภูมิหนึ่ง ๆ เรียกสารละลายนั้นว่า

สารละลายอิ่มตัว และปริมาณตัวละลายที่สารละลายได้มากที่สุดใน

ตัวทำ�ละลายปริมาณคงที่ จนสารละลายอิ่มตัว คือ สภาพละลายได้ของ

สารนั้น ซึ่งสภาพละลายได้ของสารมีหน่วยเป็นกรัมของตัวละลายต่อ

ปริมาณ ๑๐๐ กรัม ของตัวทำ�ละลาย

๑๐. ครูใช้คำ�ถามและกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ

สภาพละลายได้ของสาร

๑๑. นักเรียนออกแบบการทดลองเพื่อสังเกตผลของชนิดตัวละลาย ชนิด

ตัวทำ�ละลาย และอุณหภูมิ ที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้สารเคมี

และอุปกรณ์ที่กำ�หนด

๑๒. นักเรียนนำ�เสนอแผนการทดลอง ประกอบด้วย ปัญหา สมมติฐาน ตัวแปร

สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการทดลอง และตารางการบันทึกผล ครูและ

นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแผนการทดลอง

และปรับปรุงแผนการทดลองให้ถูกต้องเหมาะสม

๑๓. นักเรียนลงมือทำ�การทดลองตามที่วางแผน โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมใน

การวัดมวล วัดปริมาตร บันทึกผล และเก็บข้อมูลเพื่อรวบรวมหลักฐาน

เชิงประจักษ์จากการทดลอง และนำ�เสนอ

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึกสิ่ง

ที่สังเกตได้จาก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อ

เติมตัวละลายลงในตัวทำ�ละลายที่มีปริมาณคงที่

ณ อุณหภูมิหนึ่ง และการเปลี่ยนแปลงของชนิด

ตัวละลาย ชนิดตัวทำ�ละลาย อุณหภูมิ และความดัน

ที่มีต่อสภาพละลายได้ของสารได้ครบถ้วน ตาม

ความเป็นจริง โดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

192