Table of Contents Table of Contents
Previous Page  209 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 209 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านจิตวิทยาศาสตร์

ตระหนักถึงความสำ�คัญของการนำ�ความรู้เรื่อง

ความเข้มข้นของสารไปใช้

ด้านจิตวิทยาศาสตร์

ประเมินความตระหนักถึงความสำ�คัญของการนำ�ความรู้

เรื่องความเข้มข้นของสารไปใช้ จากการยกตัวอย่าง

การใช้สารละลายในชีวิตประจำ�วันที่อย่างถูกต้องและ

ปลอดภัย

ตัวชี้วัด

๗. พยากรณ์การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นผลของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุในแนวเดียวกันจากหลักฐานเชิงประจักษ์

๘. เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุในแนวเดียวกัน

ด้านความรู้

๑. แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นนิวตัน

สามา รถ เ ขียนแผนภาพของแร งและ

แรงลัพธ์ด้วยลูกศร โดยความยาวของลูกศร

แทนขนาดของแรง และหัวลูกศรแทนทิศทาง

ของแรง

๒. แรงลัพธ์เป็นผลรวมแบบเวกเตอร์ของแรง

หลายแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุ สามารถหาได้

จากการเขียนแผนภาพแบบหางเวกเตอร์ต่อ

หัวเวกเตอร์

ด้านความรู้

๑. อธิบายวิธีการเขียนแผนภาพของแรงและวิธีการหา

ขนาดของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทำ�

ต่อวัตถุในระนาบเดียวกัน

๒. อธิบายผลของแรงลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

การเคลื่อนที่ของวัตถุ

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับผลของแรง

หลายแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุในระนาบเดียวกัน โดยอาจใช้วิธีซักถามถึง

ประสบการณ์เดิม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์

เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเกี่ยวกับการหาผลรวมของแรงหลายแรงที่

กระทำ�ต่อวัตถุในระนาบเดียวกัน

๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยวัดขนาดของแรง ระบุทิศทางของแรงหลาย

แรงในระนาบเดียวกันที่กระทำ�ต่อวัตถุโดยวัตถุยังคงอยู่นิ่ง บันทึกผล

199

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒