การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ข้อมูลจากการสังเกต การทดลอง การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปราย มาอธิบายเกี่ยวกับแรงที่ของเหลว
กระทำ�ต่อวัตถุ ความดันของของเหลว ปัจจัยที่มี
ผลต่อความดันของของเหลวและความสัมพันธ์
ระหว่างความดันของของเหลวกับความลึกจากระดับ
ผิวหน้าของของเหลวในรูปแบบที่ผู้อื่นเข้าใจง่าย
และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล
จากการสังเกต การทดลอง การสืบค้นข้อมูลและ
การอภิปรายเพื่ออธิบายเกี่ยวกับแรงที่ของเหลว
กระทำ�ต่อวัตถุ ความดันของของเหลว ปัจจัยที่มีผล
ต่อความดันของของเหลวและความสัมพันธ์ระหว่าง
ความดันของของเหลวกับความลึกจากระดับผิวหน้า
ของของเหลวได้อย่างสมเหตุสมผล
๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการใช้เทคโนโลยีช่วยในการสืบค้น
ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างความดันของของเหลว
กับความลึกจากระดับผิวหน้าของของเหลวและ
สถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันที่เป็นผลมาจาก
ความดันของเหลวที่เปลี่ยนแปลงตามความลึก
จากระดับผิวหน้าของของเหลวพร้อมทั้งแนวทาง
แก้ไขจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีการอ้างอิง
แหล่งข้อมูลที่สืบค้น
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ
ข้อมูลจากการสังเกต การทดลอง การสืบค้น
ข้อมูล และการอภิปราย มาอธิบายเกี่ยวกับ
แรงที่ของเหลวกระทำ�ต่อวัตถุ ความดัน
ของของเหลว ปัจจัยที่มีผลต่อความดันของ
ของเหลวและความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
ของของเหลวกับความลึกจากระดับผิวหน้า
ของของเหลว
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ
วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากการ
สังเกต การทดลอง การสืบค้นข้อมูลและการ
อภิปรายเพื่ออธิบายเกี่ยวกับแรงที่ของเหลว
กระทำ�ต่อวัตถุ ความดันของของเหลว ปัจจัย
ที่มีผลต่อความดันของของเหลวและความ
สัมพันธ์ระหว่างความดันของของเหลวกับ
ความลึกจากระดับผิวหน้าของของเหลว
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์
ประยุกต์ เพื่อสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล
และนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ระหว่างความดันของของเหลวกับความลึก
จากระดับผิวหน้าของของ เ หลวและ
สถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันที่เป็นผลมา
จากความดันของเหลวที่เปลี่ยนแปลงตาม
ความลึกจากระดับผิวหน้าของของเหลว
พร้อมทั้งแนวทางแก้ไข
205
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒