Table of Contents Table of Contents
Previous Page  217 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 217 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการออกแบบตารางบันทึกผล

และการนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเปรียบ

เทียบค่าของแรงที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริง

เมื่อชั่งวัตถุในอากาศและในของเหลวด้วย

รูปแบบหรือวิธีการต่าง ๆ

๔. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย

ใช้ข้อมูลจากการสังเกต การปฏิบัติ การ

อภิปรายมาอธิบายแรงพยุงและการจม

การลอยของวัตถุในของเหลว

๕. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้เพื่อลง

ข้อสรุปเกี่ยวกับแรงพยุงและการจมการลอย

ของวัตถุในของเหลว

๖. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยการเขียน

แผนภาพแสดงแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุใน

ของเหลว

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต

การปฏิบัติและการอภิปรายเกี่ยวกับแรงพยุง

และการจมการลอยของวัตถุในของเหลว

๗. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์ เขียนแผนภาพของแรงพยุง

และน้ำ�หนักวัตถุ และอภิปรายเกี่ยวกับการจมการลอยของวัตถุเพื่อลง

ข้อสรุปว่าการจมการลอยของวัตถุขึ้นกับน้ำ�หนักของวัตถุและแรงพยุง

ถ้าน้ำ�หนักของวัตถุและแรงพยุงมีขนาดเท่ากัน วัตถุจะลอยนิ่งอยู่ใน

ของเหลว แต่ถ้าน้ำ�หนักของวัตถุมีขนาดมากกว่าแรงพยุง วัตถุจะจมใน

ของเหลวนั้น

๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการออกแบบตารางบันทึกผลและการ

นำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเปรียบเทียบค่าของแรง

ที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริงเมื่อชั่งวัตถุในอากาศ

และในของเหลวด้วยรูปแบบหรือวิธีการต่าง ๆ ที่

เข้าใจง่าย น่าสนใจ

๔. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ

ใช้ข้อมูลจากการสังเกต การปฏิบัติ การอภิปราย

มาอธิบายแรงพยุงและการจมการลอยของวัตถุใน

ของเหลวได้อย่างมีเหตุผล

๕. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลง

ข้อสรุปจากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้เพื่อ

ลงข้อสรุปเกี่ยวกับแรงพยุงและการจมการลอยของ

วัตถุในของเหลวได้ถูกต้องและครบถ้วน

๖. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการเขียน

แผนภาพแสดงแรงที่กระทำ�ต่อวัตถุในของเหลวได้

ถูกต้อง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการสังเกต การปฏิบัติ

และการอภิปรายเกี่ยวกับแรงพยุงและการจม

การลอยของวัตถุในของเหลวร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่

เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

207

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒