Table of Contents Table of Contents
Previous Page  247 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 247 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. การเผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์ใน

กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปจะทํา

ให้เกิดมลพิษทางอากาศซึ่งส่งผลกระทบ

ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้

แก๊สบางชนิดที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง

ซากดึกดําบรรพ์ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

และแก๊สไนตรัสออกไซด์ ยังเป็นแก๊ส

เรือนกระจกที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

ภูมิอากาศโลก

๔. ในการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ต้อง

ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้ เช่น

ใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์อย่างประหยัด

และคุ้มค่า เลือกใช้เทคโนโลยีที่ช่วยลด

การใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ และการ

เลือกใช้พลังงานทดแทนเพื่อให้มีเชื้อเพลิง

ซากดึกดำ�บรรพ์มีใช้อย่างยั่งยืน

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตและบันทึก

ลักษณะของเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์แต่ละ

ประเภท

๕. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์การใช้ประโยชน์จากเชื้อเพลิง

ซากดึกดำ�บรรพ์ของประเทศไทย และผลกระทบจากการใช้เชื้อเพลิง

ซากดึกดำ�บรรพ์ และนำ�เสนอแนวทางการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์

อย่างประหยัดและคุ้มค่า

๖. นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า ประเทศไทยมีการใช้

ประโยชน์จากพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ในด้านต่าง ๆ เช่น การใช้

ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงในการคมนาคมขนส่ง การใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง

ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ซึ่งการเผาไหม้เชื้อ

เพลิงซากดึกดําบรรพ์ในกิจกรรมต่างๆ ของมนุษยที่มากเกินไป จะก่อให้เกิด

มลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้

แก๊สบางชนิดที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์ เช่น

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สไนตรัสออกไซด์ ซึ่งเป็นแก๊สเรือนกระจก

จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก มนุษย์จึงควรใช้

เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์อย่างประหยัดและคุ้มค่า เช่น การเลือกใช้

พลังงานทดแทน เพื่อให้มีเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์มีใช้อย่างยั่งยืน

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก

ร า ย ล ะ เ อี ยด เ กี่ ย ว กับลั กษณะ ขอ ง เ ชื้อ เ พลิ ง

ซากดึกดำ�บรรพ์แต่ละประเภท ได้ครบถ้วนตาม

ความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

237

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒