Table of Contents Table of Contents
Previous Page  250 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 250 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๓. เปรียบเทียบข้อดีและข้อจำ�กัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภทจากการรวบรวมข้อมูล และนำ�เสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทนที่เหมาะสมในท้องถิ่น

ด้านความรู้

พลังงานทดแทนเป็นพลังงานที่ใช้ในการทดแทน

พลังงานจากเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ที่มีอยู่

จำ�กัด ส่วนมากเป็นพลังงานสะอาดซึ่งไม่ก่อ

ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น

พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ�

พลังงานชีวมวล พลังงานคลื่น พลังงานความร้อน

ใต้พิภพ พลังงานไฮโดรเจน การเลือกใช้พลังงาน

ทดแทนจะต้องมีการวิเคราะห์ถึงข้อดี และ

ข้อจำ�กัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท

เพื่อเลือกใช้พลังงานทดแทนให้เหมาะสม

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูลข้อดีและข้อจำ�กัดของพลังงานทดแทน

แต่ละประเภท และแนวทางการใช้พลังงาน

ทดแทนที่เหมาะสม

ด้านความรู้

๑. เปรียบเทียบข้อดีและข้อจำ�กัดของพลังงานทดแทน

แต่ละประเภท

๒. นำ�เสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทนที่เหมาะ

สมในท้องถิ่น

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล

ข้อดีและข้อจำ�กัดของพลังงานทดแทนแต่ละ

ประเภท และแนวทางการใช้พลังงานทดแทนที่

เหมาะสมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และช่วย

ให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว

ชัดเจน และถูกต้อง

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการใช้พลังงานทดแทน

ของโลกและประเทศไทย โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่างๆ

เช่น รูปภาพ วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การสืบค้นข้อมูล

การใช้พลังงานทดแทน

๒. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้พลังงานทดแทนประเภทต่างๆ

ในประเทศไทย ตลอดจนข้อดีและข้อจำ�กัดในการใช้พลังงานทดแทน เช่น

พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ� พลังงานชีวมวล พลังงานคลื่น

พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานไฮโดรเจน รวบรวมและ

จัดกระทำ�ข้อมูลในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และนำ�เสนอ

๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสถานการณ์การใช้พลังงานทดแทนประเภทต่างๆ

รวมถึงการเปรียบเทียบข้อดีและข้อจำ�กัดของพลังงานทดแทนแต่ละ

ประเภท นำ�เสนอผลการอภิปรายในรูปแบบที่น่าสนใจ

๔. ครูให้นักเรียนออกแบบแนวทางการใช้พลังงานทดแทนที่เหมาะสมกับ

ประเทศ จากนั้นร่วมกันนำ�เสนอในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น โปสเตอร์

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ พร้อมให้เหตุผลในการเลือกใช้พลังงานทดแทน

ดังกล่าว

240