Table of Contents Table of Contents
Previous Page  255 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 255 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. การผุพังอยู่กับที่ทำ�ให้ผิวโลกเกิดการ

เปลี่ยนแปลงเกิดเป็นภูมิลักษณ์ต่าง ๆ เช่น

หินรูปเจดีย์สมอง ภูเขาหินปะการัง เป็นต้น

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตลักษณะของ

หินจากสื่อต่างๆ และสังเกตการเปลี่ยนแปลง

ที่เกิดขึ้นในแบบจำ�ลอง

๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยและกระบวนการ

ที่ส่งผลให้หินเกิดการผุพังอยู่กับที่ทาง

กายภาพและทางเคมี

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยการตีความหมายข้อมูลที่ได้จากการ

สังเกตเพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับการผุพังอยู่

กับที่ของหินในธรรมชาติ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยการร่วมกันสังเกต สืบค้น และ

การสร้างแบบจำ�ลองเพื่ออธิบายการผุพังอยู่

กับที่ของหิน

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกข้อมูล

เ กี่ ย ว กับลั กษณะ ขอ ง หิน แ ล ะ ก า ร บันทึก

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแบบจำ�ลองได้ครบถ้วน

ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล เกี่ยวกับปัจจัยและกระบวนการที่ส่งผลให้

หินเกิดการผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพและทางเคมี ได้

อย่างถูกต้องและเหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจ

ความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ

ถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

การผุพังอยู่กับที่ของหินในธรรมชาติได้อย่างถูกต้อง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น

ทีม จากการร่วมกันสังเกต สืบค้น และสร้างแบบ

จำ�ลอง เพื่ออธิบายเกี่ยวกับการผุพังอยู่กับที่ของหิน

ร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

245

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒