Table of Contents Table of Contents
Previous Page  307 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 307 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตสมบัติ

ของสารก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยามา

ลงข้อสรุปเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี

๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยใช้สมการ

ข้อความที่ครูกำ�หนดสร้างและใช้แบบจำ�ลอง

เพื่ออธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงตัว

ใหม่ของอะตอมก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยา

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยร่วมกันสังเกต สร้างแบบจำ�ลอง

และอภิปราย เพื่อสรุปการการเกิดปฏิกิริยา

เคมีและการจัดเรียงกันใหม่ของอะตอมก่อน

และหลังการเกิดปฏิกิริยา

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล

ที่ได้จากการสังเกต การสร้างแบบจำ�ลองและ

การอภิปรายในชั้นเรียน เกี่ยวกับการเกิด

ปฏิกิริยาเคมีและการจัดเรียงกันใหม่ของ

อะตอมก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยา

๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร จากการรวบรวมข้อมูล และใช้

โปรแกรมสำ�เร็จรูปช่วยในออกแบบและสร้าง

แบบจำ�ลองเพื่อการนำ�เสนอข้อมูล

๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตสมบัติของสารก่อน

และหลังการเกิดปฏิกิริยามาลงข้อสรุปเกี่ยวกับการเกิด

ปฏิกิริยาเคมี ได้อย่างถูกต้อง

๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแบบจำ�ลองที่แสดง

ให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับสมการข้อความ

ที่ครูกำ�หนดอธิบายและจากการเปรียบเทียบการ

จัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยา

ได้อย่างถูกต้อง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม

จากการร่วมกันสังเกต สร้างแบบจำ�ลอง และอภิปราย

เพื่อสรุปการการเกิดปฏิกิริยาเคมีและการจัดเรียงกัน

ใหม่ของอะตอมก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยา ตั้งแต่

เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูลที่

ได้จากการสังเกต การสร้างแบบจำ�ลองและการอภิปราย

ในชั้นเรียน เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและการ

จัดเรียงกันใหม่ของอะตอมก่อนและหลังการเกิด

ปฏิกิริยา เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ

ถูกต้อง

๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และใช้

โปรแกรมสำ�เร็จรูปช่วยในออกแบบและสร้างแบบ

จำ�ลองเพื่อการนำ�เสนอข้อมูลอย่างเหมาะสมและ

สร้างสรรค์

๖. ครูให้ข้อมูลปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเขียนสมการข้อความ

และนำ�เสนอ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการนำ�เสนอและแก้ไข

ให้ถูกต้อง

๗. ครูยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีอื่นๆ เช่น ปฏิกิริยาการแยกน้ำ�ด้วยไฟฟ้า

การเผาไหม้ การเกิดแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ การเกิดแก๊สแอมโมเนีย

แล้วเปรียบเทียบสมบัติของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ของแต่ละปฏิกิริยา

เพื่อนำ�เข้าสู่การอภิปรายถึงเหตุผลที่สารผลิตภัณฑ์มีสมบัติต่างจาก

สารตั้งต้น ซึ่งอาจใช้แบบจำ�ลองหรือสื่อภาพเคลื่อนไหวจาก

อินเทอร์เน็ตประกอบการอภิปราย และลงข้อสรุปว่าสมบัติของสาร

ผลิตภัณฑ์ที่ต่างจากสารตั้งต้นเป็นผลมาจากการจัดเรียงกันใหม่ของ

อะตอมจากการเกิดปฏิกิริยาเคมี

๘. นักเรียนออกแบบและสร้างแบบจำ�ลอง เพื่ออธิบายและเปรียบเทียบ

การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยาโดยใช้

สมการข้อความที่ครูกำ�หนด

๙. นักเรียนนำ�เสนอและอธิบายแบบจำ�ลองที่สร้างขึ้น ครูและนักเรียนร่วม

กันอภิปรายเพื่อตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง

297

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓