การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า พร้อม
ระบุหน่วยของการวัด
๓. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยการคำ�นวณ
ค ว า มต่ า ง ศัก ย์ ไ ฟฟ้า ก ร ะ แ ส ไ ฟฟ้า
ความต้านทาน และปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตามสมการ
๔. ทั ก ษ ะ ก า ร ตั้ ง ส ม ม ติ ฐ า น โ ด ย ร ะ บุ
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปร
ตามในการทดลองเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ของความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ
ความต้านทาน
๕. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร โดย
การกำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ
ตัวแปรควบคุมของการทดลองเพื่อหา
ความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน
๖. ทักษะการทดลอง โดยออกแบบการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง และออกแบบตาราง
บันทึกผลการทดลองเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กับกระแสไฟฟ้า
๗. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐาน
เชิงประจักษ์เพื่อลงข้อสรุปว่าขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน
มีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของตัว
ต้านทาน โดยความชันของกราฟซึ่งเป็นอัตราส่วนระหว่างกระแสไฟฟ้ากับ
ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่าคงตัว และค่าคงตัวนี้มีความสัมพันธ์กับค่าความ
ต้านทาน (
R
) ของตัวต้านทาน โดยเท่ากับส่วนกลับของความต้านทาน
− ซึ่งเรียกว่ากฎของโอห์มและเขียนความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์
ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านทานให้อยู่ในรูปอย่างง่ายได้ว่า
V= IR
โดยความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม
๘. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายเพื่อให้นักเรียน
ร่วมกันคำ�นวณหาค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน
โดยใช้สมการ
V= IR
การใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์
ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า พร้อมระบุหน่วยของการ
วัดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่น
เข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน
และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวนจากการคำ�นวณความ
ต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตามสมการได้อย่างถูกต้อง
๔. ประเมินทักษะการตั้งสมมติฐาน จากการระบุ
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตาม
ในการทดลองเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความ
ต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานได้
อย่างเหมาะสม
๕. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปรจาก
การกำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปร
ควบคุมของการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ของ
ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน
ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
๖. ประเมินทักษะการทดลอง จากการออกแบบ
การทดลอง ปฏิบัติการทดลอง และออกแบบตาราง
บันทึกผลการทดลองเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
ความต่างศักย์ไฟฟ้า กับกระแสไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
1
R
311
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓