การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๗. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยการตีความหมายจากข้อมูลที่ได้จาก
กราฟ เพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ของความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ
ความต้านทาน
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการวัด การทดลอง
การคำ�นวณ และการอภิปรายความสัมพันธ์
ของความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ
ความต้านทาน
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล
ที่ได้จากการวัด การทดลอง การคำ�นวณ
และการอภิปรายมาอธิบายความสัมพันธ์
ของความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ
ความต้านทาน
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย
การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล
จากกราฟเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของ
ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ
ความต้านทาน
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร โดยการใช้โปรแกรมแผ่นงาน
(Spreadsheet software) ในการจัดกระทำ�
ข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ของความต่างศักย์
ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน
๗. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
จากการตีความหมายจากข้อมูลที่ได้จากกราฟ เพื่อ
ลงข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า และความต้านทานได้อย่างถูกต้อง
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
จากการมีส่วนร่วมในการวัด การทดลอง การคำ�นวณ
และการอภิปรายความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า และความต้านทานร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่
เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูล
ที่ได้จากการวัด การทดลอง การคำ�นวณ และการ
อภิปรายมาอธิบายความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า และความต้านทานเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้
อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากกราฟเพื่อ
อธิบายความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแส
ไฟฟ้า และความต้านทานได้อย่างสมเหตุสมผล
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยการ
ใช้โปรแกรมแผ่นงาน (Spreadsheet software) ในการ
จัดกระทำ�ข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ของความต่างศักย์
ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานได้อย่างถูกต้อง
312